วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สูตรเคมี







 สารประกอบชนิดหนึ่งๆ ที่เกิดขึ้นจะต้องมีอัตราส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบคงที่ จึงกลายเป็นสูตรเคมีที่ลงตัว เช่น
            น้ำ (H2O) ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และออกซิเจน โดยมีอัตราส่วนโดยอะตอมของ  H : O = 2 : 1, มีอัตราส่วนโดยมวลของ  H : O = 1 : 8 และ มีอัตราส่วนโดยปริมาตรของ  H : O = 2 : 1
            คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและออกซิเจน โดยมีอัตราส่วนโดยอะตอมของ  C : O = 1 : 2 และ มีอัตราส่วนโดยมวลของ  C : O = 3 : 8
             ดังนั้น สูตรเคมี คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ธาตุที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสาร สูตรเคมีที่แสดงชนิดของธาตุและจำนวนอะตอมที่เป็นองค์ประกอบใน 1 โมเลกุล เรียกว่า "สูตรโมเลกุล" ดังตัวอย่างสูตรโมเลกุลของสารประกอบต่อไปนี้  (อ่านต่อ)

วันพุธที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

การเตรียมสารละลาย



เตรียมสารละลาย หมายถึง การเตรียมสารละลายโดยนำตัวถูกละลายมาเติมตัวทำละลายให้ได้ปริมาตรและความเข้มข้นตามต้องการ และในการเตรียมต้องทราบ ความเข้มข้นและปริมาตรของสารละลาย


4.8.1 การเตรียมสารละลายจากสารละลายบริสุทธิ์
วิธีการเตรียมสาร
1. ช่างสารตัวอย่างตามปริมาณที่กำหนดไว้

2. ละลายสารในบีกเกอร์

3. เทสารลงในขวดวัดปริมาตร  (อ่านต่อ)


(เคมี) สรุปสูตรการคำนวณของสารละลาย

หน้าแรก > วิชาเคมี >

(เคมี) สรุปสูตรการคำนวณของสารละลาย

 สรุปสูตรการคำนวณของสารละลาย
1. ร้อยละโดยมวลของตัวถูกละลาย สูตรการคำนวณของสารละลาย
2. ร้อยละโดยปริมาตรของตัวถูกละลาย   สูตรการคำนวณของสารละลาย
3. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรของตัวถูกละลาย    สูตรการคำนวณสารละลาย
4. mol/dm3    สูตรการคำนวณสารละลาย
5. mol/kg สูตรการคำนวณสารละลาย  
6. สารละลายที่มีความเข้มข้น C mol/dm3 จำนวน V dm3 จำนวนโมลของตัวถูกละลาย n mol    สูตรการคำนวณสารละลาย
 
7. สารละลายที่มีความเข้มข้น C mol/dm3 จำนวน V dm3 จำนวนโมลของตัวถูกละลาย n mol   สูตรการคำนวณสารละลาย
 
8. การเปลี่ยนหน่วยสารละลายจากหน่วย ร้อยละ ———–> mol/dm3
8.1 ร้อยละโดยมวล ———> mol/dm3  สูตรการคำนวณสารละลาย
C = ความเข้มข้น (mol/dm3) d = ความหนาแน่นของสารละลาย (g/cm3)
X = ความเข้มข้น (% โดยมวล) M = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย
8.2 ร้อยละโดยปริมาตร ————–> mol/dm3  สูตรการคำนวณสารละลาย
D = ความหนาแน่นของตัวทำละลาย (g/cm3) x = ความเข้มข้นของสารละลาย (% โดยปริมาตร)
8.3 ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร —————> mol/dm3  สูตรการคำนวณสารละลาย
X = ความเข้มข้นของสารละลาย (ร้อยละมวลต่อปริมาตร) 
9. การเตรียมสารละลายเจือจางโดยการเติมน้ำ
โมลของตัวถูกละลายก่อนเติมน้ำ = โมลของตัวถูกละลายหลังเติมน้ำ
สารละลาย C1 mol/dm3 จำนวน V1 cm3 เติมน้ำเป็นสารละลาย C2 mol/dm3 จำนวน V>2 cm3
  สูตรการคำนวณสารละลาย
10. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายชนิดเดียวกันความเข้มข้นต่างกัน แต่ปริมาตรที่ใช้ต่างกัน
 สูตรการคำนวณสารละลาย
C1V1 และ C แทนความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยเป็น mol/dm3
C2V2 และ V แทนปริมาตรของสารละลายมีหน่วยสอดคล้องกัน เช่น cm3 หรือ dm3 เหมือนกัน 
ข้อมูลจาก http://web.ku.ac.th/

วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

กฎของเกย์-ลูสแซก
      กล่าวว่า "ความดันของก๊าซใด ๆ จะแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิ เมื่อปริมาตรของก๊าซคงที่"
กฎของอาโวกาโดร กล่าวว่า "ภายใต้สภาวะที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ก๊าซที่มีปริมาตรเท่ากันจะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากัน" หรืออาจกล่าวได้ว่า "ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของก๊าซใด ๆ จะแปรผันโดยตรงกับจำนวนโมลของก๊าซนั้น ๆ "
1. กฎของเกย์ลุสแซก

ในปี พ.ศ. 2531 โซเซฟ-ลุย-เก-ลูซัก ได้ทดลองวัดปริมาตรของก๊าซที่ทำปฏิกิริยาพอดีกันและปริมาตรของก๊าซที่ได้จากปฏิกิริยา ณ อุณหภมิและความดันเดียวกัน แล้วสรุปเป็นกฎการรวมปริมาตรของก๊าซว่า "ในปฏิกิริยาเคมีที่เป็นก๊าซ อัตราส่วนโดยปริมาตรของก๊าซที่ทำปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาตรของก๊าซที่เกิดจากปฏิกิริยาที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จะเป็นเลขจำนวนเต็มลงตัวน้อย ๆ"